นักวิชาการภัยพิบัติมอ.ปัตตานีชี้ ไฟดับเป็นบทเรียน-แก้ปัญหาได้ถือว่าปกติ

แสดงความคิดเห็น

ปัตตานี - ดร.สมพร ช่วยอารีย์ นักวิชาการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และประธานโครงการเฝ้าระวังภัยพิบัติลุ่มน้ำปัตตานี กล่าวถึงเรื่อง 'เราเรียนรู้อะไรจากเหตุการณ์ไฟฟ้าดับทั้ง 14 จว.ภาคใต้' ว่า ถือเป็นบทเรียนที่ปัจจุบันพึ่งปัจจัยพื้นฐาน 3 อย่าง คือ ไฟฟ้า ประปา และโทรศัพท์มือถือ กระแสไฟฟ้าดับเพียง 2-3 ชั่วโมงมีผลทำให้การสื่อสารต้องถูกตัดขาดไป เกิดความวิตกกังวลโดยเฉพาะพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้เดือดร้อนเพราะไม่ได้เตรียมรับมือกับสิ่งที่เคยอำนวย ความสะดวก

การรับมืออาจใช้หลัก เตรียมตัว ป้องกัน รับมือ และฟื้นฟู เตรียมความพร้อมเผชิญเหตุ และเตรียมการป้องกันล่วงหน้า เช่น ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องใช้ว่ายังใช้ได้หรือไม่ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเตรียมไว้อย่างดี แต่ในอนาคตอาจเกิดภัยที่มีความรุนแรง เช่น ในญี่ปุ่นสร้างเขื่อนกันสึนามิป้องกันไว้แล้ว แต่ไม่สามารถรับความรุนแรงของสึนามิได้

ภูมิปัญญาที่เคยใช้ เมื่อเกิดไฟฟ้าดับถูกลืมไปแล้ว เคยเตรียมเทียนไข ตะเกียง น้ำมันก๊าด ไว้ประจำบ้านมาสู่การใช้ไฟฉาย เมื่อถึงเวลาใช้เสียเวลาค้นหาอุปกรณ์บางอย่างหมดสภาพการใช้งาน น่าจะขอบคุณเหตุการณ์ที่ช่วยเป็นโจทย์ให้รู้จักแก้ปัญหา เรียนรู้ว่าเรามีข้อจำกัดและจะนำพลังงานอื่นๆ มาใช้ร่วมอย่างไร ภัยพิบัติถ้าจัดการได้ถือว่าเป็นเหตุการณ์ธรรมดาที่หาทางออกได้

ขอบคุณ http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROd2NtOHdNVEV3TURZMU5nPT0=&sectionid=TURNeE13PT0=&day=TWpBeE15MHdOaTB4TUE9PQ== (ขนาดไฟล์: 167)

ที่มา: ข่าวสดออนไลน์/มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย 10 มิ.ย.56
วันที่โพสต์: 11/06/2556 เวลา 04:39:56

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ปัตตานี - ดร.สมพร ช่วยอารีย์ นักวิชาการคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และประธานโครงการเฝ้าระวังภัยพิบัติลุ่มน้ำปัตตานี กล่าวถึงเรื่อง 'เราเรียนรู้อะไรจากเหตุการณ์ไฟฟ้าดับทั้ง 14 จว.ภาคใต้' ว่า ถือเป็นบทเรียนที่ปัจจุบันพึ่งปัจจัยพื้นฐาน 3 อย่าง คือ ไฟฟ้า ประปา และโทรศัพท์มือถือ กระแสไฟฟ้าดับเพียง 2-3 ชั่วโมงมีผลทำให้การสื่อสารต้องถูกตัดขาดไป เกิดความวิตกกังวลโดยเฉพาะพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้เดือดร้อนเพราะไม่ได้เตรียมรับมือกับสิ่งที่เคยอำนวย ความสะดวก การรับมืออาจใช้หลัก เตรียมตัว ป้องกัน รับมือ และฟื้นฟู เตรียมความพร้อมเผชิญเหตุ และเตรียมการป้องกันล่วงหน้า เช่น ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องใช้ว่ายังใช้ได้หรือไม่ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเตรียมไว้อย่างดี แต่ในอนาคตอาจเกิดภัยที่มีความรุนแรง เช่น ในญี่ปุ่นสร้างเขื่อนกันสึนามิป้องกันไว้แล้ว แต่ไม่สามารถรับความรุนแรงของสึนามิได้ ภูมิปัญญาที่เคยใช้ เมื่อเกิดไฟฟ้าดับถูกลืมไปแล้ว เคยเตรียมเทียนไข ตะเกียง น้ำมันก๊าด ไว้ประจำบ้านมาสู่การใช้ไฟฉาย เมื่อถึงเวลาใช้เสียเวลาค้นหาอุปกรณ์บางอย่างหมดสภาพการใช้งาน น่าจะขอบคุณเหตุการณ์ที่ช่วยเป็นโจทย์ให้รู้จักแก้ปัญหา เรียนรู้ว่าเรามีข้อจำกัดและจะนำพลังงานอื่นๆ มาใช้ร่วมอย่างไร ภัยพิบัติถ้าจัดการได้ถือว่าเป็นเหตุการณ์ธรรมดาที่หาทางออกได้ ขอบคุณ … http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROd2NtOHdNVEV3TURZMU5nPT0=§ionid=TURNeE13PT0=&day=TWpBeE15MHdOaTB4TUE9PQ==

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...