ความจริงมี ๒ อย่าง

แสดงความคิดเห็น

ความจริงมี ๒ อย่าง

ความจริงมี ๒ อย่าง คือ จริงโดยสมมุติ และจริงโดยปรมัตถ์

จริงโดยสมมุติ ก็เป็นความจริงโดยชาวโลกยอมรับ และเป็นที่รู้กัน แต่ไม่มีสภาวะ

จริงโดยปรมัตถ์ เป็นความจริง จริงๆ มีสภาวะจริงๆ

สมมุติสัจจะ

สมฺมุติ ( ถ้อยคำ , โวหาร , การแต่งตั้ง ) + สจฺจ ( ความจริง )

ความจริงโดยโวหารตามการแต่งตั้งขึ้น หมายถึง ความจริงโดยสมมุติ ไม่ใช่ความ

จริงโดยปรมัตถ์ เพราะไม่มีสภาวลักษณะในตัวเองเป็นการบัญญัติแต่งตั้งขึ้นตามความ คิดนึกของจิต เช่น คน สัตว์ บ้านเมือง นคร ประเทศ พ่อแม่ พี่น้อง ปู่ยา ตายาย มนุษย์ เทวดา พรหม ฯลฯ เหล่านี้ ล้วนแต่เป็นสมมุติบัญญัติทั้งสิ้น

ตามหลักพระวินัยมีว่า อาหารและยา มีส่วนผสมของสุราอยู่ ภิกษุฉันได้

แต่มีข้อแม้ว่า ต้องไม่มีสี ไม่มีกลิ่นของสุราปรากฏ คือ ปริมาณต้องไม่มาก

ซึ่งอาจทำให้เมื่อดื่มแล้วถึงความเมา ศีลข้อห้า ของคฤหัสถ์ทั้งหลายก็มีนัยเดียวกันครับ

ทานเป็นยาแก้ไอ แม้มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ อยู่บ้างก็ไม่ชื่อว่าผิดศีลข้อสุราเมรัย

แต่ถ้ารู้ว่ากินแล้วเมา กินเข้าไปจำนวนมากๆ อย่างนี้เข้าข่ายการผิดศีล..

ขณะที่หยิบยามา ไม่มีจิตคิดขโมย คิดว่ายาที่ตู้สำหรับทุกคนที่ไม่สบาย ขณะมาที่วัด

หรือคิดว่าถือวิสาสะ จะบอกท่านภายหลัง ลักษณะที่ว่ามานี้ ไม่เป็นการขโมย

ศึกษาจากพระวินัยปิฎก เพื่อเป็นเครื่องพิจารณาเพิ่มเติม ก็จะทำให้มีความเข้าใจ

ว่า สำหรับพระภิกษุ ดื่มน้ำเมา ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่ถ้าดื่มน้ำดังต่อไปนี้ไม่เป็น

อาบัติ คือ ภิกษุดื่มน้ำที่มีกลิ่นรสเหมือนน้ำเมา แต่ไม่ใช่น้ำเมา ๑ ภิกษุดื่มน้ำเมาที่

เจือลงในแกง ๑ ภิกษุดื่มน้ำเมาที่เจือลงในเนื้อ ๑ ภิกษุดื่มน้ำเมาที่เจือลงในน้ำมัน๑

ภิกษุดื่มน้ำเมาในน้ำอ้อยที่ดองมะขามป้อม ๑ ภิกษุดื่มยาดองอริฏฐะซึ่งไม่ใช่ของเมา๑

ดังนั้น จากกรณีที่ดื่มยาแก้ไอ จึงไม่ผิดศีลข้อที่ ๕ ครับ

จาก ... พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา

เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หน้าที่ ๔๒๕

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หน้าที่ ๔๒๕

ขอบคุณ... http://www.dhammathai.org/articles/view.php?No=1157

ที่มา: http://www.dhammathai.org/articles/view.php?No=1157
วันที่โพสต์: 25/05/2560 เวลา 11:15:50 ดูภาพสไลด์โชว์ ความจริงมี ๒ อย่าง

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

ความจริงมี ๒ อย่าง ความจริงมี ๒ อย่าง คือ จริงโดยสมมุติ และจริงโดยปรมัตถ์ จริงโดยสมมุติ ก็เป็นความจริงโดยชาวโลกยอมรับ และเป็นที่รู้กัน แต่ไม่มีสภาวะ จริงโดยปรมัตถ์ เป็นความจริง จริงๆ มีสภาวะจริงๆ สมมุติสัจจะ สมฺมุติ ( ถ้อยคำ , โวหาร , การแต่งตั้ง ) + สจฺจ ( ความจริง ) ความจริงโดยโวหารตามการแต่งตั้งขึ้น หมายถึง ความจริงโดยสมมุติ ไม่ใช่ความ จริงโดยปรมัตถ์ เพราะไม่มีสภาวลักษณะในตัวเองเป็นการบัญญัติแต่งตั้งขึ้นตามความ คิดนึกของจิต เช่น คน สัตว์ บ้านเมือง นคร ประเทศ พ่อแม่ พี่น้อง ปู่ยา ตายาย มนุษย์ เทวดา พรหม ฯลฯ เหล่านี้ ล้วนแต่เป็นสมมุติบัญญัติทั้งสิ้น ตามหลักพระวินัยมีว่า อาหารและยา มีส่วนผสมของสุราอยู่ ภิกษุฉันได้ แต่มีข้อแม้ว่า ต้องไม่มีสี ไม่มีกลิ่นของสุราปรากฏ คือ ปริมาณต้องไม่มาก ซึ่งอาจทำให้เมื่อดื่มแล้วถึงความเมา ศีลข้อห้า ของคฤหัสถ์ทั้งหลายก็มีนัยเดียวกันครับ ทานเป็นยาแก้ไอ แม้มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ อยู่บ้างก็ไม่ชื่อว่าผิดศีลข้อสุราเมรัย แต่ถ้ารู้ว่ากินแล้วเมา กินเข้าไปจำนวนมากๆ อย่างนี้เข้าข่ายการผิดศีล.. ขณะที่หยิบยามา ไม่มีจิตคิดขโมย คิดว่ายาที่ตู้สำหรับทุกคนที่ไม่สบาย ขณะมาที่วัด หรือคิดว่าถือวิสาสะ จะบอกท่านภายหลัง ลักษณะที่ว่ามานี้ ไม่เป็นการขโมย ศึกษาจากพระวินัยปิฎก เพื่อเป็นเครื่องพิจารณาเพิ่มเติม ก็จะทำให้มีความเข้าใจ ว่า สำหรับพระภิกษุ ดื่มน้ำเมา ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่ถ้าดื่มน้ำดังต่อไปนี้ไม่เป็น อาบัติ คือ ภิกษุดื่มน้ำที่มีกลิ่นรสเหมือนน้ำเมา แต่ไม่ใช่น้ำเมา ๑ ภิกษุดื่มน้ำเมาที่ เจือลงในแกง ๑ ภิกษุดื่มน้ำเมาที่เจือลงในเนื้อ ๑ ภิกษุดื่มน้ำเมาที่เจือลงในน้ำมัน๑ ภิกษุดื่มน้ำเมาในน้ำอ้อยที่ดองมะขามป้อม ๑ ภิกษุดื่มยาดองอริฏฐะซึ่งไม่ใช่ของเมา๑ ดังนั้น จากกรณีที่ดื่มยาแก้ไอ จึงไม่ผิดศีลข้อที่ ๕ ครับ จาก ... พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หน้าที่ ๔๒๕ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หน้าที่ ๔๒๕ ขอบคุณ... http://www.dhammathai.org/articles/view.php?No=1157

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...