สาร มพพท. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗

แสดงความคิดเห็น

สาร มพพท. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗

เนื้อหาบางส่วน

พันตำรวจเอกทวีศักดิ์ งามสง่า กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ประธานในพิธีเปิดการสัมมนาเรื่อง “แนวคิด และข้อเสนอของผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ในการจัดบริการล่ามภาษามือ” กล่าวว่า กสทช. ได้ประกาศ เรื่อง “หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๖” โดย ในข้อ ๑๐ ได้กำหนดให้ผู้รับใบอนุญาต จัดบริการเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการและคนด้อยโอกาสให้เข้าถึง หรือรับรู้ และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ได้อย่างเสมอภาคกับบุคคลทั่วไป ในเวลาออกอากาศอย่างน้อยวันละ ๖๐ นาที ดังนั้นจึงสนับสนุนสมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย และมูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย จัดสัมมนาฯ เมื่อวันที่ ๑๕ พ.ค.๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมกสทช. โดยมีผู้เข้าร่วมประมาณ ๕๐ คน ประกอบด้วยผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ คนหูหนวก ล่ามภาษามือ นักวิชาการและสื่อมวลชนระดมข้อคิดเห็นและข้อเสนอเพื่อเป็นแนวทางจัดบริการล่ามภาษามือในรายการโทรทัศน์

นายอนุชา รัตนสินธุ์ นายกสมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย กล่าวว่า คนหูหนวกซึ่งมีในประเทศไทยกว่า ๓๐๐,๐๐๐ คน มีข้อจำกัดในการสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางโทรทัศน์ สมาคมฯ จึงได้เสนอให้ กสทช.กำหนดให้มีบริการล่ามภาษามือในรายการโทรทัศน์ พร้อมทั้ง เผยแพร่ข้อเสนอแนวทางปฏิบัติในการจัดบริการดังกล่าวแก่ผู้เกี่ยวข้อง

ดาวน์โหลดเอกสาร สาร มพพท. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗

ที่มา: มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย
วันที่โพสต์: 20/08/2558 เวลา 15:59:08 ดูภาพสไลด์โชว์ สาร มพพท. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

สาร มพพท. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ เนื้อหาบางส่วน พันตำรวจเอกทวีศักดิ์ งามสง่า กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ประธานในพิธีเปิดการสัมมนาเรื่อง “แนวคิด และข้อเสนอของผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ในการจัดบริการล่ามภาษามือ” กล่าวว่า กสทช. ได้ประกาศ เรื่อง “หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๖” โดย ในข้อ ๑๐ ได้กำหนดให้ผู้รับใบอนุญาต จัดบริการเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการและคนด้อยโอกาสให้เข้าถึง หรือรับรู้ และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ได้อย่างเสมอภาคกับบุคคลทั่วไป ในเวลาออกอากาศอย่างน้อยวันละ ๖๐ นาที ดังนั้นจึงสนับสนุนสมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย และมูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย จัดสัมมนาฯ เมื่อวันที่ ๑๕ พ.ค.๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมกสทช. โดยมีผู้เข้าร่วมประมาณ ๕๐ คน ประกอบด้วยผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ คนหูหนวก ล่ามภาษามือ นักวิชาการและสื่อมวลชนระดมข้อคิดเห็นและข้อเสนอเพื่อเป็นแนวทางจัดบริการล่ามภาษามือในรายการโทรทัศน์ นายอนุชา รัตนสินธุ์ นายกสมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย กล่าวว่า คนหูหนวกซึ่งมีในประเทศไทยกว่า ๓๐๐,๐๐๐ คน มีข้อจำกัดในการสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางโทรทัศน์ สมาคมฯ จึงได้เสนอให้ กสทช.กำหนดให้มีบริการล่ามภาษามือในรายการโทรทัศน์ พร้อมทั้ง เผยแพร่ข้อเสนอแนวทางปฏิบัติในการจัดบริการดังกล่าวแก่ผู้เกี่ยวข้อง ดาวน์โหลดเอกสาร สาร มพพท. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๕ เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...