พระประวัติ สมเด็จพระสังฆราช ตั้งแต่กรุงสุโขทัย-กรุงรัตนโกสินทร์

แสดงความคิดเห็น

พระประวัติ สมเด็จพระสังฆราช ตั้งแต่กรุงสุโขทัย-กรุงรัตนโกสินทร์

พระสังฆราช เป็นตำแหน่งที่มีมานาน ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ดังหลักฐานจากศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ซึ่งได้มีการเก็บข้อมูลไว้

สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก เป็น ตำแหน่งสมณศักดิ์สูงสุดฝ่ายพุทธจักรของคณะสงฆ์ไทย ทรงเป็นประธานการปกครองคณะสงฆ์ ที่นำแบบอย่างมาจาก ลัทธิลังกาวงศ์ ซึ่งพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ได้ทรงอัญเชิญพระเถระผู้ใหญ่ของลังกา ที่เชี่ยวชาญในพระไตรปิฎก เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาฝ่าย เถรวาทในประเทศไทย

ใน สมัยกรุงศรีอยุธยาได้เพิ่มตำแหน่ง สมเด็จพระสังฆราชเป็น สกลมหาสังฆปรินายก มีอำนาจว่ากล่าวออกไปถึงหัวเมือง ในปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา พระอริยมุนี ได้ไปสืบอายุพระพุทธศาสนาที่ลังกาทวีป มีความชอบมาก เมื่อกลับมาได้รับสมณศักดิ์สูงขึ้นตามลำดับเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระเจ้าเอกทัศน์มีพระราชดำริให้คงราชทินนามนี้ไว้ จึงทรงตั้งราชทินนามสมเด็จพระสังฆราชเป็น สมเด็จพระอริยวงศาสังฆราชาธิบดี และเป็นสมเด็จพระอริยวงศาญาณ ในสมัยกรุงธนบุรี และได้ใช้ต่อมาจนถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ซึ่งได้ทรงปรับปรุงเพิ่มเติมเป็นสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ จนถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 7 การปกครองคณะสงฆ์ ได้มีการจัดตำแหน่งนี้

สกลสังฆปรินายก ได้แก่ สมเด็จพระสังฆราช

มหาสังฆนายก ได้แกเจ้าคณะใหญ่

สังฆนายก ได้แก เจ้าคณะรอง

มหาสังฆปาโมกข์ ได้แก่ เจ้าคณะมณฑล

สังฆปาโมกข์ ได้แก่ เจ้าคณะจังหวัดที่เป็นพระราชาคณะ

สังฆวาห ได้แก เจ้าคณะจังหวัดที่เป็นพระครู

ใน สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนามพระบรมราชวงค์ผู้ดำรงสมณศักดิ์ในตำแหน่งสมเด็จ พระสังฆราชขึ้นใหม่ว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ทรงเศวตฉัตร 5 ชั้น ที่ผ่านมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีสมเด็จพระสังฆราชมาแล้ว 19 องค์ เริ่มตั้งแต่สมัยในรัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา โดยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีสมเด็จพระสังฆราช ดำรงตำแหน่งถึง 6 พระองค์

รายชื่อสมเด็จพระสังฆราช ในกรุุงรัตนโกสินทร์ ทั้ง 19 องค์ คือ

-สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรก แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดระฆังโฆษิตาราม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2325 สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ. 2337 ดำรงตำแหน่ง อยู่ 12 พรรษา

-พระสังฆราช (ศุข) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ เมื่อปี พ.ศ. 2337 ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 23 พรรษา

-สมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชวังสฤษดิ์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2359 ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 4 พรรษา

-สมเด็จพระสังฆราช (สุก) ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2363 อยู่ในตำแหน่ง 3 พรรษา

-สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษด์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็นพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2365 ดำรงตำแหน่ง 20 พรรษา

-สมเด็จพระสังฆราช (นาค) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดราชบูรณะราชวรวิหาร ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ เมื่อปี พ.ศ. 2386 ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 6 พรรษา

-สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และทรงเป็น พระมหาสมณเจ้า ฯ พระองค์แรก กับเป็นพระราชวงศ์พระองค์แรก ที่ทรงได้รับสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช

ทรงสถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ในสมัยรัชกาลที่ 4

-สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร

-สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชประดิษฐ์

สถิตมหาสีมาราม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ทรงดำรงตำแหน่งรวม 6 พรรษา

-สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อปี พ.ศ. 2436

-สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

ทรงอิสริยยศ ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม

-สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวราราม

-สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (หม่อมราชวงศ์ ชื่น สุจิตฺโต) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร

-พระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภณ) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ในสมัยรัชกาลปัจจุบัน

-สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 15 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

-สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฎฺฐายี) เป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 16 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร

-สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น ปุณฺณสิริมหาเถร) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

-สมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถร) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม

-และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19

ขอบคุณ http://variety.teenee.com/foodforbrain/57149.html

ที่มา: http://variety.teenee.com/foodforbrain/57149.html
วันที่โพสต์: 26/10/2556 เวลา 04:17:29 ดูภาพสไลด์โชว์ พระประวัติ สมเด็จพระสังฆราช ตั้งแต่กรุงสุโขทัย-กรุงรัตนโกสินทร์

แสดงความคิดเห็น

รอตรวจสอบ
จัดฟอร์แม็ต ดูการแสดงผล

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

รอตรวจสอบ

ยกเลิก

รายละเอียดกระทู้

พระประวัติ สมเด็จพระสังฆราช ตั้งแต่กรุงสุโขทัย-กรุงรัตนโกสินทร์ พระสังฆราช เป็นตำแหน่งที่มีมานาน ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ดังหลักฐานจากศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ซึ่งได้มีการเก็บข้อมูลไว้ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก เป็น ตำแหน่งสมณศักดิ์สูงสุดฝ่ายพุทธจักรของคณะสงฆ์ไทย ทรงเป็นประธานการปกครองคณะสงฆ์ ที่นำแบบอย่างมาจาก ลัทธิลังกาวงศ์ ซึ่งพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ได้ทรงอัญเชิญพระเถระผู้ใหญ่ของลังกา ที่เชี่ยวชาญในพระไตรปิฎก เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาฝ่าย เถรวาทในประเทศไทย ใน สมัยกรุงศรีอยุธยาได้เพิ่มตำแหน่ง สมเด็จพระสังฆราชเป็น สกลมหาสังฆปรินายก มีอำนาจว่ากล่าวออกไปถึงหัวเมือง ในปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา พระอริยมุนี ได้ไปสืบอายุพระพุทธศาสนาที่ลังกาทวีป มีความชอบมาก เมื่อกลับมาได้รับสมณศักดิ์สูงขึ้นตามลำดับเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระเจ้าเอกทัศน์มีพระราชดำริให้คงราชทินนามนี้ไว้ จึงทรงตั้งราชทินนามสมเด็จพระสังฆราชเป็น สมเด็จพระอริยวงศาสังฆราชาธิบดี และเป็นสมเด็จพระอริยวงศาญาณ ในสมัยกรุงธนบุรี และได้ใช้ต่อมาจนถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ซึ่งได้ทรงปรับปรุงเพิ่มเติมเป็นสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ จนถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 7 การปกครองคณะสงฆ์ ได้มีการจัดตำแหน่งนี้ สกลสังฆปรินายก ได้แก่ สมเด็จพระสังฆราช มหาสังฆนายก ได้แกเจ้าคณะใหญ่ สังฆนายก ได้แก เจ้าคณะรอง มหาสังฆปาโมกข์ ได้แก่ เจ้าคณะมณฑล สังฆปาโมกข์ ได้แก่ เจ้าคณะจังหวัดที่เป็นพระราชาคณะ สังฆวาห ได้แก เจ้าคณะจังหวัดที่เป็นพระครู ใน สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนามพระบรมราชวงค์ผู้ดำรงสมณศักดิ์ในตำแหน่งสมเด็จ พระสังฆราชขึ้นใหม่ว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ทรงเศวตฉัตร 5 ชั้น ที่ผ่านมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีสมเด็จพระสังฆราชมาแล้ว 19 องค์ เริ่มตั้งแต่สมัยในรัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา โดยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีสมเด็จพระสังฆราช ดำรงตำแหน่งถึง 6 พระองค์ รายชื่อสมเด็จพระสังฆราช ในกรุุงรัตนโกสินทร์ ทั้ง 19 องค์ คือ -สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรก แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดระฆังโฆษิตาราม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2325 สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ. 2337 ดำรงตำแหน่ง อยู่ 12 พรรษา -พระสังฆราช (ศุข) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ เมื่อปี พ.ศ. 2337 ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 23 พรรษา -สมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชวังสฤษดิ์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2359 ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 4 พรรษา -สมเด็จพระสังฆราช (สุก) ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2363 อยู่ในตำแหน่ง 3 พรรษา -สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษด์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็นพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2365 ดำรงตำแหน่ง 20 พรรษา -สมเด็จพระสังฆราช (นาค) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบูรณะราชวรวิหาร ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ เมื่อปี พ.ศ. 2386 ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 6 พรรษา -สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และทรงเป็น พระมหาสมณเจ้า ฯ พระองค์แรก กับเป็นพระราชวงศ์พระองค์แรก ที่ทรงได้รับสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ทรงสถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ในสมัยรัชกาลที่ 4 -สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร -สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชประดิษฐ์ สถิตมหาสีมาราม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ทรงดำรงตำแหน่งรวม 6 พรรษา -สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อปี พ.ศ. 2436 -สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงอิสริยยศ ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม -สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวราราม -สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (หม่อมราชวงศ์ ชื่น สุจิตฺโต) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร -พระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภณ) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ในสมัยรัชกาลปัจจุบัน -สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 15 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร -สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฎฺฐายี) เป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 16 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร -สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น ปุณฺณสิริมหาเถร) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม -สมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถร) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม -และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 ขอบคุณ… http://variety.teenee.com/foodforbrain/57149.html

จัดฟอร์แม็ตข้อความและมัลติมีเดีย

  1. เพิ่ม
  2. เพิ่ม ลบ
  3. เพิ่ม ลบ
  4. เพิ่ม ลบ
  5. เพิ่ม ลบ
  6. เพิ่ม ลบ
  7. เพิ่ม ลบ
  8. เพิ่ม ลบ
  9. เพิ่ม ลบ
  10. ลบ
เลือกการตกแต่งที่ต้องการ

ตกลง ยกเลิก

รายละเอียดการใส่ ลิงค์ รูปภาพ วิดีโอ เพลง (Soundcloud)

Waiting...